THE ISAAN RECORD
แรงงานจากภาคอีสานกลายเป็นคนไร้บ้านในเมืองกรุงฯ [วิดีโอ]
เมื่อการระบาดของโรคโควิด-19 ได้เกิดขึ้น ทำให้นายไพวัลย์ ชะลา คนขับรถบรรทุกต้องตกงาน เมื่อเขาไม่สามารถจ่ายค่าเช่าห้องในกรุงเทพได้อีก เขาก็ต้องกลายเป็นคนไร้บ้านอ่านต่อ ...
ผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชนอีสาน ระหว่างการต่อสู้หรือหนีภัย
ประชาชนกว่า 300 คน ได้รวมตัวกันที่มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีในวันจันทร์ที่ผ่านมา เพื่อหารือเกี่ยวกับสถานะของสิทธิมนุษยชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและประเทศไทยเทศกาลสิทธิมนุษยชนภาคอีสานครั้งที่ 10 ได้รวบรวมผู้คนจากทั่วทั้งภูมิภาค นักกิจกรรม นักวิชาการ นักเรียน และนักการทูตต่างประเทศ นาย Staffan Herrström เอกอัครราชทูตสวีเดนเข้าร่วมงาน เพื่อพูดคุยเกี่ยวกับมุมมองระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชนอ่านต่อ ...
สตรีและบทบาทต่อการเมืองไทย
เมื่อพิจารณาถึงบทบาทของผู้หญิงในการเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย นอกเหนือจากการเป็นผู้นำ ยังมีสองสิ่งที่ต้องนึกถึงในการเผชิญหน้ากับตำรวจหรือทหาร ผู้หญิงในชุมชนที่ได้รับผลกระทบมักยืนอยู่แถวหน้า โดยบรรดาผู้หญิงเหล่านั้นถูกมองว่าเปราะบาง ความหวังก็คือเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยจะไม่ทำร้ายพวกเขา นี่คือความเชื่อที่ว่าผู้หญิงเป็นเพศที่อ่อนแอกว่า ดังนั้นพวกเขาจึงต้องเผชิญกับสถานการณ์เหล่านี้ไม่ใช่เพราะพวกเขาแข็งแกร่งขึ้นอ่านต่อ ...
ไม่มีที่ดิน ไม่มีปลา: ชุมชนแม่น้ำโขงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยต้องต่อสู้กับภัยคุกคามซ้ำซ้อน
ชาวบ้านในจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยกำลังสงสัยว่า ทำไมพวกเขาถึงถูกดำเนินคดี ในกรณีที่ทำการเกษตรบนที่ดินที่บรรพบุรุษส่งต่อให้พวกเขา“ถ้าผมสูญเสียที่ดิน ผมก็อยากตาย ผมไม่อยากจะมีชีวิตอยู่” นายฤทธิ์ จันทร์สุข วัย 50 ปี กล่าวด้วยเสียงอันสั่นเครือด้วยความรู้สึกเศร้าใจ ขณะที่เขามองดูที่ดินจำนวน 2 ไร่ (0.32 เฮกตาร์) ที่กำลังจะสูญเสียไปอ่านต่อ ...
เมื่อแม่น้ำโขงไม่มีปลา และแผ่นดินไม่ดินอยู่
การที่รัฐบาลผลักดันการเรียกคืนพื้นที่ป่าจากผู้บุกรุกในเขตอำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ได้คุกคามสมาชิกของชุมชนสองแห่งที่ถูกจับกุมและขับไล่จากที่ดินของตนเอง นอกจากนั้นสิ่งต่าง ๆ นี้ ยังคงแย่ลงจากการสร้างเขื่อนจีนในแม่น้ำโขงตอนบนในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อปลาในแม่น้ำและวิถีชีวิตท้องถิ่นที่ต้องพึ่งพาประมงน้ำจืดอ่านต่อ ...
วิธีแก้ปัญหาวิกฤตการจัดการขยะในท้องถิ่นของประเทศไทย
หลังจากอ่านบทความ Isaan Record สามฉบับที่ตีพิมพ์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2561 ที่ผ่านมา ในหัวข้อมลพิษทางอากาศ และปัญหาน้ำเสียที่เกิดจากการฝังกลบและการเผาขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทำให้ฉันอดคิดไม่ได้ว่ารัฐบาล และหน่วยงานท้องถิ่นนั้นล้มเหลวในการจัดการของเสียปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำลังประสบปัญหาการจัดการขยะ โดยปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นมีความเชื่อมโยงกับการเติบโตของประชากรและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอ่านต่อ ...
ความหิวกระหายสินแร่ของจีนกับการต่อต้านของชาวบ้านในพื้นที่ของไทย
เกิดความไม่แน่นอนในอนาคตของเหมืองแร่โปแตชไทย – จีนที่วางแผนไว้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย เนื่องจากชาวบ้านมีการต่อต้านอย่างรุนแรงอันเกิดจากความกังวลเกี่ยวกับความมั่นคงในการดำรงชีวิต สุขภาพ และสิ่งแวดล้อมหลังจากกลุ่มผู้ประท้วงกลุ่มหนึ่ง ซึ่งนำโดยชาวบ้านในพื้นที่ได้ปิดกั้นการเข้าถึงแหล่งขุดเจาะเมื่อปีที่แล้ว ทำให้บริษัทเหมืองแร่ของจีนได้ยื่นฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายต่อชาวบ้านเป็นเงินจำนวน 34 ล้านบาท (ประมาณ 1.07 ล้านเหรียญสหรัฐ)อ่านต่อ ...
การศึกษาใหม่ได้ขุดลึกลงไปเพื่อสลายความเชื่อเกี่ยวกับภาคอีสาน
ประชาชนที่อาศัยอยู่ในภาคอีสานประมาณ 22 ล้านคน คิดเป็น 1 ใน 3 ของประชากรทั้งประเทศนั่นถูกตราหน้าว่าเป็นพวกหลอกง่าย หัวรุนแรง และไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นอคติที่ได้รับจากชนชั้นกลางในประเทศไทยมาอย่างยาวนานจากการศึกษาใหม่โดย Asia Foundation เพื่อตรวจสอบว่าอคติเหล่านี้ผ่านการสำรวจเชิงลึกเกี่ยวกับทัศนคติและความคิดเห็นของคนอีสานอ่านต่อ ...