ข่าว
จุฬาลงกรณ์เชิญชวนบริจาคเงินให้กับกองทุนภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็ง
คนไทยได้รับการเชิญชวนให้บริจาคเงินให้กับงานวิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการพัฒนายา “Biologics” เพื่อเพิ่มระบบภูมิคุ้มกันของมนุษย์ในการต่อสู้กับโรคมะเร็งกองทุนภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็งมีความหวังในการให้การสนับสนุนโครงการวิจัย และพัฒนาโดย ศูนย์ความเป็นเลิศด้านภูมิคุ้มกันบำบัดมะเร็ง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อลดต้นทุนของยาภูมิคุ้มกันบำบัด จาก 200,000 เป็น 20,000 บาทอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ประเทศไทยเปิดตัวโมเดล EMC3 เพื่อผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ในอีอีซี และจัดตั้งเขตเศรษฐกิจไมซ์ภาคตะวันออก เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทย
ในการผลักดันอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE: Meetings, Incentive Travel, Conventions, Exhibitions) ของไทย และผลักดันอุตสาหกรรมเป้าหมาย 10 โครงการภายใต้โครงการประเทศไทย 4.0 เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล สำนักงานส่งเสริมการจัดการประชุมและนิทรรศการ (องค์การมหาชน) หรือ สสปน. ได้เปิดตัว “EMC3 Model” ซึ่งจะปูทางไปสู่ความสำเร็จ สำหรับการเพิ่มขึ้นของเขตเศรษฐกิจไมซ์ภาคตะวันออก (EMC) ในประเทศไทย ควบคู่ไปกับการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน International Media Familiarization Trip (IMFT 2018) ซึ่งสื่อมวลชนจากทั่วโลกได้รับเชิญให้มาร่วมเป็นสักขีพยานในความพร้อม และศักยภาพของไมซ์ในโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก (EEC) ด้วยตาของตัวเอง การริเริ่มเชิงรุกเหล่านี้ไม่ใช่เพียงเพื่อดึงดูดนักลงทุนในภูมิภาคให้ลงทุนในอีอีซี แต่ยังทำให้ประเทศไทยกลายเป็นผู้นำของอุตสาหกรรมไมซ์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อ่านต่อ ...
ประเทศไทยจะปรับปรุงการดูแลเด็กอพยพและไร้สัญชาติ
ประเทศไทย และองค์การยูนิเซฟ (Unicef) กำลังวางแผนที่จะกระชับร่วมมือกัน เพื่อดูแลเด็กที่อพยพ และไร้สัญชาติให้ดีขึ้น หลังได้มีการหารือกันเมื่อวานนี้ (17 ต.ค.) ระหว่างพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีของไทย และนางเฮนเรียตตา ฟอร์ ผู้อำนวยการบริหารองค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ อ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
WEF เผยผลสำรวจไทยก้าวสู่ประเทศไทย 4.0
ประเทศไทยไต่อันดับขึ้น 2 อันดับในการจัดอันดับดัชนีความสามารถทางการแข่งขันระดับโลก 4.0 (GIC 4.0) ในลำดับที่ 38 คณะพาณิชย์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นพันธมิตรอย่างเป็นทางการของของสภาเศรษฐกิจโลก (WEF) ได้เผยแพร่รายงานของ WEF โดยประเทศไทยได้คะแนนดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัดจากคะแนน 66.3 ในปี 2560 เป็น 67.5 จาก 100 เต็มอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
เอฟเอโอยกย่องประเทศไทยขจัดความหิวโหย และบรรลุความมั่นคงทางอาหาร
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ของไทยได้เข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการความมั่นคงด้านอาหารโลกครั้งที่ 45 (CFS 45) และการประชุมในวัน World Food Day ซึ่งเป็นวันที่ 16 ตุลาคมของทุกปี ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ(FAO)นอกจากนี้ในการประชุมทั้งสองมีผู้เข้าร่วมประชุมจากตัวแทนใน 194 ประเทศ และองค์กรที่เกี่ยวข้องของสหประชาชาติ เช่นโครงการอาหารโลก (World Food Programme: WFP) และองค์การอนามัยโลกอ่านต่อ ...
Nuppol Suvansombut
BOI และอุตสาหกรรมการแพทย์ 4.0
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนหรือ BOI ได้ให้ความสำคัญกับอุตสาหกรรมการแพทย์ที่ครอบคลุม ไม่เพียงแต่รัฐบาลได้กำหนดอุตสาหกรรมการแพทย์ไว้เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมาย แต่การพัฒนาอุตสาหกรรมนี้มีผลกระทบอย่างมากต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนไทยทุกคน แน่นอนว่าประชากรที่มีสุขภาพดีนำไปสู่เศรษฐกิจและสังคมที่เจริญรุ่งเรืองอ่านต่อ ...
บทเรียนอันล้ำค่าของภาคการศึกษาจากประเทศฟินแลนด์
ประเทศไทยหวังที่จะศึกษา และอาจใช้การปฏิรูปด้านการศึกษาที่ประสบความสำเร็จอย่างมากของประเทศฟินแลนด์ ทั้งที่ในช่วง 6 ทศวรรษที่ผ่านมา ประชากรผู้ใหญ่เกือบหนึ่งในสามของประเทศนั้นไม่ได้รับการศึกษา และในวันนี้การศึกษาของฟินแลนด์ถูกยกให้เป็นอันดับหนึ่งของโลกอย่างไม่มีข้อสงสัยอ่านต่อ ...
จุฬารัตน์ แสงปัสสา
คณะรัฐมนตรีไฟเขียวร่างกฎหมายเพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ในการประชุมเมื่อวานนี้ (16 ต.ค. ) คณะรัฐมนตรีเห็นชอบร่างกฎหมายที่จะเพิ่มเงื่อนไขทางกฎหมายในการสนับสนุนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) พร้อมอนุญาตให้มีการจัดตั้งสมาคมการค้าขึ้น และเพิ่มค่าธรรมเนียมการลงทะเบียน เพื่อช่วยในการรับมือกับสถานการณ์ทางเศรษฐกิจของประเทศอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ฝากครรภ์-ค่าคลอดบุตร ลดหย่อนภาษีได้สูงสุด 60,000 บาท
กรมสรรพากรอนุญาตให้ผู้เสียภาษีบุคคลสามารถอ้างสิทธิ์ในการหักภาษีเงินได้สำหรับค่าเลี้ยงดูก่อนคลอด และค่าใช้จ่ายในการคลอดบุตรได้สูงสุด 60,000 บาทต่อปีภาษี โดยมีผลย้อนหลังตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. เป็นต้นไปตามประกาศของกรมฯอ่านต่อ ...
วิชิต จันทนุสรณ์ศิริ
ผลประโยชน์เชิงบวกที่ได้รับจากการต่อสู้กับการประมงที่ผิดกฎหมาย
นับตั้งแต่ปี 2558 ประเทศไทยได้พยายามอย่างมากในการฟื้นฟูอุตสาหกรรมประมงทั้งหมด เพื่อที่จะป้องกันการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUU) ในประเทศไทย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนของทรัพยากรทางทะเลความท้าทายของการประมงที่มากเกินไปได้รับการแก้ไขปัญหาอย่างครอบคลุม โดยใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพหลายประการ ซึ่งรวมถึงการควบคุมเครื่องมือประมงที่มีขีดความสามารถในการจับสูง ห้ามใช้วิธีการประมงแบบทำลายล้าง การปิดอ่าวไทยตามฤดูกาลเพื่อให้สัตว์ทะเลสามารถวางไข่ และออกมาตรการการจำกัดการออกใบอนุญาตตามอัตราผลตอบแทนที่ยั่งยืนสูงสุดอ่านต่อ ...