การบริหารและการพัฒนาเมือง

หนทางสู่ของสุขภาพที่ดีในอนาคต

การพลิกโฉมกรุงเทพฯครั้งยิ่งใหญ่กำลังจะเริ่มขึ้นก่อนวันครบรอบ 250 ปี ในฐานะเมืองหลวงของไทยด้วยสวนลอยฟ้าพระปกเกล้าสกายปาร์ค ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา การใช้ประโยชน์จากการยกเลิกโครงการรถไฟฟ้าช่วงลาวาลิน ซึ่งตั้งอยู่เลนกลางของสะพานพระปกเกล้า ข้างสะพานพระพุทธยอดฟ้า โดยมีกำหนดแล้วเสร็จในเดือนมีนาคมปีหน้าอ่านต่อ ...

ภัทรวดี ภัทรนาวิก

กรุงเทพฯ ท่ามกลางเมืองอีคอมเมิร์ซชั้นนำของเอเชีย

YCP Solidiance ประกาศว่า กรุงเทพฯ เป็นหนึ่งในเมืองการค้าชั้นนำในเอเชียตามเอกสารปกขาว (White Paper) ล่าสุด “เมืองอีคอมเมิร์ซติดอันดับในเอเชีย” มุ่งหวังที่จะแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของภูมิทัศน์อีคอมเมิร์ซในเอเชีย และวิธีที่จะปรับให้เข้ากับแนวโน้มของโลกได้อย่างรวดเร็ว “เมืองอีคอมเมิร์ซ” หมายถึงเมืองในเมืองที่มีโครงสร้างพื้นฐานที่เชื่อมโยงถึงกันทำให้เกิดระบบนิเวศอีคอมเมิร์ซที่ช่วยให้เจริญเติบโตอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

วิธีเข้าถึงการสร้างเมืองอัจฉริยะในภูมิภาคอาเซียน

การเข้าถึงเงินทุนเป็นอุปสรรคสำคัญที่สุดสำหรับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในกลุ่มประเทศอาเซียนรวมถึงประเทศไทย เนื่องจากประเทศต่างๆ ต้องดิ้นรนหาแหล่งเงินลงทุนจากหลายแหล่ง สำหรับการพัฒนาโครงการโครงสร้างพื้นฐานที่มีค่าใช้จ่ายสูงอ่านต่อ ...

คมสัน ต่อเติมวาสนา

ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนเป็นกุญแจสำคัญในการเปลี่ยนแปลง ‘เมืองที่ป่วย’

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้เปิดตัวแคมเปญ “เมืองสุขภาพดี” เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และทางสังคมของประชาชน พร้อมแก้ไขปัญหาที่เกิดจากประเด็นในด้านต่างๆ ของเมือง รวมถึงวิถีชีวิต และมลพิษที่ไม่ดีอ่านต่อ ...

พวงชมพู ประเสริฐ

จังหวัดเชียงใหม่กำลังผลักดันเป็นสมาร์ทซิตี้

จังหวัดเชียงใหม่ได้วางแผนที่จะดำเนินการตามรูปแบบของเมืองอัจฉริยะ เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนท้องถิ่นนายศุภชัย เอี่ยมสุวรรณ ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวว่าจังหวัดภาคเหนือกำลังพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกสาธารณะ ส่งเสริมการท่องเที่ยว และยกระดับคุณภาพชีวิตภายใต้โมเดลเมืองอัจฉริยะอ่านต่อ ...

Tewit Kemtong

การคุ้มครองผู้บริโภคในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การเติบโตของเมืองอย่างรวดเร็วในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และความมั่งคั่งที่เพิ่มขึ้นนำไปสู่ความกังวลเกี่ยวกับการเติบโตของการคุ้มครองผู้บริโภคและผลกระทบต่อความยั่งยืน การคุ้มครองผู้บริโภคคือ การจัดซื้อสินค้า และบริการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งไม่ได้เป็นความต้องการพื้นฐาน เช่น อาหาร น้ำเสื้อผ้า และที่พักอาศัย รวมถึง เทรนด์ และแฟชั่นที่เปลี่ยนแปลงไป แรงผลักดันตลาดการคุ้มครองผู้บริโภคได้กลายเป็นวิถีชีวิตในหลายประเทศ และเป็นสัญลักษณ์ของประเทศที่พัฒนาแล้วอ่านต่อ ...

เมืองอัจริยะในอาเซียน

ประเทศไทยนำร่องโครงการเมืองอัจฉริยะในกรุงเทพฯ ภูเก็ต และชลบุรีโดยมีส่วนสำคัญในการเป็นพาร์ทเนอร์ข้ามพรมแดนประเทศไทยจะมีบทบาทสำคัญในการดำเนินงานเครือข่ายเมืองอัจฉริยะ ซึ่งครอบคลุม 26 เมืองใน 10 ประเทศในกลุ่มอาเซียนเมื่อประเทศไทยจะเข้ารับตำแหน่งเป็นประธานในปีหน้า ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) กล่าวในสัปดาห์นี้ว่า กรุงเทพฯ ภูเก็ต และชลบุรีจะมีบทบาทสำคัญในโครงการเมืองอัจฉริยะ โดยมุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนใน 7 ประเด็นหลัก ได้แก่ เศรษฐกิจ การปกครอง ประชาชน การใช้ชีวิต ความคล่องตัว สิ่งแวดล้อมและพลังงานอ่านต่อ ...

อศินา พรวศิน และ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

การแข่งขันตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยา

Iconsiam ถือเป็นจุดสุดยอดล่าสุดแห่งความก้าวหน้าของแม่น้ำเจ้าพระยา แต่หนทางยังอีกไกล พร้อมเกิดความกังวลต่อผู้สังเกตการณ์บางคน ในช่วงสุดสัปดาห์ที่ผ่านมาได้มีการเปิดตัวสุดอลังการของ Iconsiam ซึ่งเป็นห้างสุดยิ่งใหญ่ตั้งตระหง่านเหนือแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาพื้นที่ริมน้ำสู่ศตวรรษที่ 21อ่านต่อ ...

ภัทรวดี ภัทรนาวิก

วิสัยทัศน์ของกรุงเทพฯ คือ การนำข้อมูลจราจรและมลพิษไปใช้งานให้เกิดประโยชน์

กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวงที่เป็นบ้านของประชากรกว่า 9 ล้านคนและมีรถยนต์วิ่งนับล้านๆ คัน และเป็นมหานครแห่งหนึ่งที่เติบโตเร็วที่สุดในอาเซียน และคาดว่าจะมีประชากรเพิ่มอีกกว่า 2 ล้านคนในปี 2020 ขณะที่กรุงเทพฯ กำลังขยายตัว บรรดาสิ่งท้าทายก็ทวีความกดดันต่อทรัพยากรในเมือง โครงสร้างพื้นฐาน และเงินทุนพัฒนาดร. ศุภชัย ตันติคม ผู้อำนวยการด้านความยืดหยุ่นประจำกรุงเทพฯ มีบทบาทสำคัญในการสร้างความยืดหยุ่นและความมั่งคั่งให้กับกรุงเทพฯ กุญแจสำคัญก็คือการทบทวนความเจริญ เขากล่าว “การปรับตัวและยืดหยุ่นเป็นการบรรเทาปัญหา และต้องทำให้ลดลงอย่างต่อเนื่อง โครงการที่คุณเห็นในวันนี้มันอาจจะล้าสมัยในอีกครึ่งปีข้างหน้า“การจราจรที่แออัดและคุณภาพอากาศที่แย่ลงนั้นเป็นปัจจัยหลัก 2 ข้อที่เขาต้องจัดการให้ได้อ่านต่อ ...

Apala Bhattacharya

ร่วมสร้างวงจรธุรกิจสีเขียวที่ดีงาม

ในขณะที่จำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งเป็นที่ต้องการของหลายคน แต่ผลที่ตามมาของการพัฒนาที่รุนแรงดังกล่าวคือสามารถก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมได้เช่นเดียวกัน เห็นได้จากปัญหามลพิษที่เพิ่มขึ้น ความยากจนแผ่ขยายเป็นวงกว้าง และความขาดแคลนทรัพยากรอ่านต่อ ...

ลมลเพ็ชร อภิสิทธิ์นิรันดร์

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

gTrd3
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!