วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ผู้เชี่ยวชาญชี้การห้ามเผาไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาหมอกควันที่มีประสิทธิภาพ

เมื่อวานนี้ผู้เชี่ยวชาญได้ออกมาเตือนการเคลื่อนไหวในการควบคุมหมอกควันในภาคเหนือนั้นไม่ได้ผล เนื่องจากทางการมุ่งเน้นไปที่การควบคุมไฟจากภายนอกเท่านั้น  เมื่อใกล้ถึงฤดูร้อนประชาชนในภาคเหนือต้องเผชิญกับหมอกควันประจำฤดูกาล ซึ่งโดยปกติจะเริ่มในเดือนมีนาคมถึงแม้ว่านักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นเชื่อว่าการออกคำสั่งห้ามไฟไหม้กลางแจ้งสองเดือนไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพ พวกเขายังชี้ให้เห็นว่าการป้องกันไฟป่าจะส่งผลเสียมากกว่าผลดีต่อระบบนิเวศป่าผลัดใบที่แห้งแล้งอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

เพิ่มพลัง ต่อจุดมุ่งหมายด้วยพลังงานแสงอาทิตย์

บริษัท BCPG  และ Power Ledger จะร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อเปิดโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เอกชนบนหลังคาในช่วงครึ่งหลังของปีนี้ ซึ่งโครงการนี้แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการใช้เทคโนโลยีดิจิตอลในการลดร่องรอยพลังงาน (Energy footprint) ของมหาวิทยาลัย ขณะเดียวกันได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพในการทำกำไรในช่วงเปลี่ยนผ่านไปเป็นพลังงานหมุนเวียน เพื่อตอบสนองต่อข้อตกลงปารีส บนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ ...

อศินา พรวศิน

ส่งเสริมดิจิทัลจากล่างขึ้นบน

นายไชย วุฒิวิวัฒน์ชัย ผู้อำนวยการคนแรกของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่ได้รับการเลื่อนตำแหน่งจากตำแหน่งที่ไม่ใช่รองผู้อำนวยการ แต่มาจากระดับหน่วยวิจัยNectec ได้ริเริ่มโครงการวิจัยขั้นสูงจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์นอกชั้นวาง แต่พวกเขายังคงไม่เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางอ่านต่อ ...

ศศิวิมล บุญเรือง

เริ่มใช้ปัญญาประดิษฐ์ควบคุมสัญญาณไฟจราจรตามสี่แยกทั่วกรุงเทพฯ

เจ้าหน้าที่ตำรวจระดับสูง กล่าวว่า ในเร็ววันนี้จะเริ่มมีการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการควบคุมสัญญาณไฟจราจรในตามสี่แยก 505 แห่งทั่วกรุงเทพ ฯ ซึ่งจะสามารถทำงานได้ดีกว่าการใช้เจ้าหน้าตำรวจควบคุมพ.ต.อ.กิตติ อริยานนท์ รองผู้บัญชาการกองบังคับการตำรวจจราจร สํานักงานตํารวจแห่งชาติ กล่าวว่า ขณะนี้ AI ได้ทำงานในการควบคุมเวลาในไฟสัญญาณจราจรตาม 59 แยก เพื่อหาทางในการลดหรือเพิ่มระยะเวลาให้เหมาะสมในแต่ละเส้นทาง โดยขึ้นอยู่กับการไหลของการจราจรอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

เทคโนโลยี AI และข้อมูลขนาดใหญ่จะช่วยพัฒนาประสิทธิภาพจัดการด้านสุขภาพ เพื่อลดอัตราการติดเชื้อ HIV ของไทย

การใช้ปัญญาประดิษฐ์ (AI) และข้อมูลขนาดใหญ่ได้เสนอโอกาสใหม่สำหรับประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งมันมีศักยภาพมหาศาลที่จะสนับสนุน ‘ประเทศไทย 4.0’ ซึ่งเป็นโมเดลใหม่ในทางเศรษฐกิจตามมูลค่าที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมเทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ที่คาดว่าจะปลดล็อคประเทศจากความท้าทายทางเศรษฐกิจที่เกิดจากโมเดลการพัฒนาทางเศรษฐกิจก่อนหน้านี้ (การเกษตร – ประเทศไทย 1.0 อุตสาหกรรมเบา – ประเทศไทย 2.0 และอุตสาหกรรมหนัก – ประเทศไทย 3.0) ‘กับดักรายได้ปานกลาง’ และ ‘กับดักความเหลือมล้ำ’อ่านต่อ ...

ทำอย่างไรประเทศไทยถึงใช้โอเพ่นดาต้า และเอไอในกระบวนการยุติธรรม

ในช่วงเวลาที่ผ่านมาผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากภาคส่วนต่างๆ เริ่มมีบทบาทเชิงรุกในการหาวิธีการปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม อย่างไรก็ตามปัญหาที่ขัดขวางภารกิจนี้ รวมถึงการบริหารงานที่ดี จึงขัดขวางระบบสถาบันที่มีประสิทธิภาพ ยุติธรรม โปร่งใส และมีความรับผิดชอบอ่านต่อ ...

Alita Sharon

ยกระดับโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก เพื่อขับเคลื่อนนวัตกรรมเทคโนโลยีระดับโลก

เมื่อไม่นานมานี้ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ประกาศการอนุมัติแผนความร่วมมือภาครัฐ – เอกชน ในโครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรมและนวัตกรรมดิจิทัล(EECD) ซึ่งเป็นหนึ่งในองค์ประกอบสำคัญของโครงการริเริ่มการพัฒนาเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ โครงการเขตส่งเสริมอุตสาหกรรม และนวัตกรรมดิจิทัลของไทย (EECD) ครอบคลุมพื้นที่ 115 เฮกตาร์ (ประมาณ 720 ไร่) ตั้งอยู่ในเขตอีอีซี โดยมีแผนพัฒนาเทคโนโลยีที่สามารถผลิกโฉมภูมิภาคนี้ให้กลายเป็นจุดหมายของนักพัฒนาระบบดิจิทัลอ่านต่อ ...

บล็อกเชนบุกเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

20 ปีที่ผ่านมา ไม่มีใครสามารถคาดเดาได้อย่างถูกต้องว่าผลกระทบใหญ่ของสิ่งประดิษฐ์ เช่น สมาร์ทโฟน และเวิลด์ไวด์เว็บจะเปลี่ยนแปลงมนุษยชาติ ขณะที่บางความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกลับต้องสะดุดล้ม และนั่นอาจเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้กับเทคโนโลยีบล็อกเชนอ่านต่อ ...

การเสริมสร้างความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ของอาเซียน

การก่อการร้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถือเป็นภัยคุกคามมาอย่างยาวนาน โดยก่อนหน้านี้กลุ่มผู้ก่อการร้ายได้ก่อเหตุในพื้นที่ดังกล่าวด้วยการคุกคามจากความรุนแรงทางกายภาพตั้งแต่การวางระเบิดไปจนถึงการลักพาตัว อย่างไรก็ตามในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคของอินเทอร์เน็ต บรรดาผู้ก่อการร้ายได้พบวิธีใหม่ในการโจมตีเป้าหมาย ความกังวลจากการเติบโตของการก่อการร้ายในโลกไซเบอรของภูมิภาคได้เพิ่มอย่างมาก และผู้เชี่ยวชาญได้เรียกร้องภูมิภาคมีการตอบโต้แบบค่อยเป็นค่อยไปอ่านต่อ ...

ประเทศไทยจะสามารถใช้ AI เพื่อความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ได้อย่างไร

ผู้ช่วยผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ประกาศว่า “เราต้องยอมเสี่ยงมากขึ้น” ขณะที่ประเทศไทย 4.0 กำลังเริ่มเป็นรูปเป็นร่าง รัฐบาลเดินหน้าระบบดิจิทัลได้อย่างเต็มที่ และจำเป็นต้องอาศัยความกล้า และนวัตกรรมใหม่ เนื่องจากภัยคุกคามทางไซเบอร์มีความซับซ้อนมากขึ้น นายอดิศักดิ์ ศรีนครินทร์ กล่าวในการประชุม Innovation Labs World ล่าสุดว่า “สำหรับในช่วง 40 ถึง 50 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเทคโนโลยีดิจิทัล เราเป็นเพียงแค่ผู้ใช้ปลายทาง เราซื้อและใช้แค่นั้น”อ่านต่อ ...

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

xbYjD
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!