ประชากรและสำมะโนประชากร
รัฐบาลไทย – เมียนมาประสบความสำเร็จในการส่งผู้หนีภัยการสู้รบกลับเมียนมากลุ่มที่ 2 กลับประเทศ
เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2561 รัฐบาลไทยและเมียนมาได้ร่วมมือกันส่งผู้หนีภัยการสู้รบจากเมียนมากลุ่มที่ 2 จำนวน 93 คน กลับประเทศ โดยแบ่งเป็นผู้หนีภัยฯ จากพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยฯบ้านใหม่ในสอย 20 คน ผ่านจุดผ่อนปรนการค้าบ้านห้วยต้นนุ่นในจังหวัดแม่ฮ่องสอน และจากพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยฯ บ้านแม่หละ บ้านอุ้มเปี้ยม บ้านนุโพ จังหวัดตาก และจากพื้นที่พักพิงชั่วคราวสำหรับผู้หนีภัยฯ บ้านต้นยาง จังหวัดกาญจนบุรี รวม 73 คน ผ่านจุดผ่านแดนถาวรแม่สอด – เมียวดี จังหวัดตากอ่านต่อ ...
ผู้ลี้ภัยชาวพม่าออกจากไทย แต่ชาวยะไข่ยังคงอยู่ชายแดน
ประเทศไทยได้ส่งกลุ่มผู้ลี้ภัยชาวกะเหรี่ยงและกะเรนนี กว่า 100 คน ไปยังประเทศพม่าจากค่ายอพยพบริเวณชายแดนในจังหวัดตากและแม่ฮ่องสอน ซึ่งพวกเขาได้หนีความขัดแย้งระหว่างทหารพม่าและกลุ่มชาติพันธุ์ที่ติดอาวุธในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมาอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
10 ปีในค่ายอพยพ ชาวกะเหรี่ยงหวนคืนพม่า
ผู้ลี้ภัยจำนวน 93 คนจากประเทศพม่า ที่อาศัยอยู่ในค่ายอพยพบริเวณชายแดนทางตะวันตกของไทยได้เดินทางกลับบ้าน นับเป็นครั้งที่ 2 ตั้งแต่ พ.ศ. 2559 หน่วยงานผู้ลี้ภัยของสหประชาชาติ (UN refugee agency) มีความหวังเพิ่มขึ้นในการปิดบางค่ายผู้ลี้ภัยที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียอ่านต่อ ...
สำนักข่าวรอยเตอร์ส
ความไม่เท่าเทียม การย้ายถิ่นฐาน และอุตสาหกรรม 4.0 ความท้าทาย ความสำเร็จของประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง
ประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) ประสบความคืบหน้าเป็นอย่างมาก ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา เมื่อครั้งหนึ่งต้องชะงักจากปัญหาความยาก ปัจจุบันกลายเป็นกลุ่มประเทศที่มีความสำเร็จทางเศรษฐกิจ โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจของประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GECP) ได้ให้ความสำคัญกับการเปลี่ยนแปลงนี้อย่างมาก นับตั้งแต่ก่อตั้งขึ้นในปีพ. ศ. 2535 เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและส่งเสริมความร่วมมือระดับภูมิภาค 6 ประเทศสมาชิก ได้แก่ กัมพูชา สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พม่า ประเทศไทย และเวียดนามได้สร้างเวทีความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีการระดมทุนเกือบ $ 21 พันล้านเหรียญ สำหรับโครงการโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสำคัญสูงอ่านต่อ ...
AEC News Reporter
Four one-stop service centres set up to process migrant workers who registered จัดตั้งศูนย์บริการเบ็ดเสร็จ 4 แห่ง เพื่อลงทะเบียนแรงงานต่างด้าว
แรงงานต่างด้าวจำนวนทั้งสิ้น 300,072 ราย ได้รับการตรวจสอบสัญชาติและลงทะเบียนเพื่อทำงานในประเทศไทย โดยขั้นตอนต่อไปต้องดำเนินการขอวีซ่าใบอนุญาตทำงานและการตรวจสุขภาพอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
ไทยยกเลิกข้อจำกัดการเปลี่ยนนายจ้าง สถานที่ทำงาน และประเภทงานให้กับแรงงานต่างด้าว
เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2561 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบร่าง พ.ร.ก. การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว ซึ่งเป็นการแก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.ก. การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.2560 โดยได้กำหนดกระบวนการในการควบคุมและตรวจสอบการนำคนต่างด้าวเข้ามาทำงาน การทำงานของคนต่างด้าว การรับคนต่างด้าวเข้าทำงาน ให้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น รวมทั้งปรับปรุงอัตราโทษให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้นและสอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนอ่านต่อ ...