ประชากรและสำมะโนประชากร
ความล้มเหลวของโครงการสวัสดิการในแรงงานข้ามชาติ
แรงงานต่างด้าวหลายคนในประเทศไทยรู้สึกถึงความไม่มั่นคง และถูกเอาเปรียบภายใต้โครงการสวัสดิการของประเทศที่มีอยู่ หลังจากผ่านไป 13 ปีในประเทศไทย นายเนย์ ซามู ได้เห็นชาวพม่าหลายคนสูญเสียแขนขาในขณะทำงาน และพวกเขายังไม่ได้รับค่าชดเชยใดๆเลยอ่านต่อ ...
กรรวี ปัญญาศุภคุณ
อย่าทิ้งเด็กต่างด้าวและเด็กผู้อพยพไว้ข้างหลัง
ประเทศไทยถือเป็นจุดหมายปลายทางที่สำคัญสำหรับคนต่างด้าว และผู้อพยพมานานหลายทศวรรษ และปัจจุบันมีนักเรียนต่างด้าว และที่ไม่ใช่คนไทยมากกว่า 164,000 คนที่เข้าเรียนในโรงเรียน และศูนย์การเรียนรู้ทั่วประเทศอ่านต่อ ...
รมต.แรงงานบรรยายสรุปมาตราการแก้ไขการขาดแคลนแรงงานในภาคการประมงของไทย
พลเอกอดุลย์ แสงสิงแก้ว รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน และเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการประชุมในวันพฤหัสบดี (8 พ.ย.) ที่ผ่านมา เพื่อขับเคลื่อนมาตรการแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในภาคการประมงของประเทศไทยอ่านต่อ ...
ธนกร เสงี่ยม
คณะรัฐมนตรีปรับเกณฑ์สมาร์ทวีซ่า เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรม
คณะรัฐมนตรีได้มีการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ และสิทธิประโยชน์ของโครงการสมาร์ทวีซ่า เพื่ออำนวยความสะดวกแก่นักวิชาการชาวต่างชาติที่มาแบ่งปันความรู้กับบุคลากรอุตสาหกรรมของไทยหลังจากการประชุมคณะรัฐมนตรีประจำสัปดาห์ นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีประกาศการได้รับอนุมัติให้คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแก้ไขข้อบังคับเกี่ยวกับสมาร์ทวีซ่าและสวัสดิการ เพื่ออำนวยความสะดวกแก่ผู้ดชี่ยวชาญในการเดินทางมาเยือนประเทศไทย โดยเฉพาะผู้ทำงานอยู่แวดวงที่เกี่ยวข้องกับ 10 อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศอ่านต่อ ...
สุรพันธุ์ เหล่าธารณาฤทธิ์
ผู้ลี้ภัย : ความเสียหายที่เกิดจากการปรามปราบผู้อพยพที่ผิดกฎหมายในประเทศไทย
นางฟาติมาวัย 48 ปี ซึ่งเกิดในค่ายผู้ลี้ภัยชาวปาเลสไตน์ในยาร์มุคใกล้เมืองดามัสกัส โดยเธอคิดว่าเธอจะได้พบกับความปลอดภัยในประเทศไทย เมื่อเธอหนีสงครามกลางเมืองในประเทศซีเรียมายังประเทศไทย เมื่อเกือบหกปีก่อน “เราเดินทางมาประเทศไทยเพราะเป็นประเทศเดียวที่ให้วีซ่าแก่เรา” อย่างไรก็ตามวีซ่าหมดอายุลงก่อนที่เธอ และสามีจะสามารถหางานทำตามกฎหมายได้ และนั่นทำให้กลายเป็นแรงงานข้ามชาติที่ผิดกฎหมายในทันที แม้ไม่กี่เดือนต่อมาสำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) จะรับรองสถานะผู้ลี้ภัยของเธอ แต่ก็ยังผิดกฎหมายในสายตาคนไทยอยู่ดีอ่านต่อ ...
ชาวต่างด้าวใน อ.มหาชัย ต่างกลัวตำรวจกรรโชก
ชาวพม่าที่อาศัยในอำเภอมหาชัยจังหวัดสมุทรสาครกำลังอยู่ในความหวาดกลัวที่อาจกลายเป็นเป้าหมายของการกรรโชกของตำรวจนาย Ko Ko Naing ซึ่งทำงานในมูลนิธิเครือข่ายส่งเสริมคุณภาพชีวิตแรงงาน (LPN) โดยเขาเล่าว่าครั้งหนึ่งตัวเขาเองเกือบจะถูกจับขังคุก เมื่อตำรวจจับกุมตัวเขาใส่กุญแจมือโดยถูกกล่าวหาว่าเล่นการพนันอ่านต่อ ...
กรรวี ปัญญาศุภคุณ
ไทยกวดขันจับกุมกลุ่มชาวต่างชาติผิดกฏหมาย
การดำเนินการของตำรวจไทยที่เรียกว่า ยุทธการ “X-RAY OUTLAW FOREIGNER” มีวัตถุประสงค์เพื่อกวดขันจับกุมกลุ่มชาวต่างชาติที่ใช้วีซ่าปลอมและเข้าเมืองผิดกฎหมาย กำลังเกิดขึ้นถามมากขึ้นในประเด็นด้านเชื้อชาติ และความกลัวของผู้ลี้ภัยอ่านต่อ ...
ส่งตัว 1,000 แรงงานกัมพูชาออกจากประเทศไทย
แรงงานกัมพูชาจำนวนกว่า 1,000 ราย ที่เจ้าหน้าที่ชายแดนปอยเปต จังหวัดจังหวัดบันทายมีชัยระบุว่า เป็นกลุ่มผู้ล้มเหลวในการปฏิบัติตามกำหนดเวลาของใบอนุญาตทำงานแรงงานต่างด้าวได้ถูกส่งตัวกลับประเทศไปแล้วตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคมนาย Ros Sarom ผู้อำนวยการสำนักงานแรงงานจังหวัด กล่าวว่า เจ้าหน้าที่ได้ออกเอกสารทางกฎหมายแก่ชาวกัมพูชาส่วนใหญ่ที่ทำงานในประเทศไทยก่อนเดือนกรกฎาคมอ่านต่อ ...
การโยกย้ายแรงงานข้ามชาติ
การโยกย้ายผู้คนข้ามประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพิ่มขึ้นอย่างมากในช่วงสองทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งตรงข้ามกับแนวโน้มของโลก ความมีชีวิตชีวาของการโยกย้ายถิ่นภายในภูมิภาคเป็นผลมาจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว ความหลากหลายทางประชากรศาสตร์และความไม่ตรงกันในอุปสงค์และอุปทานของแรงงานในประเทศอ่านต่อ ...
ธันยธร ทองวรานันท์
รายงานของธนาคารโลกเรียกร้องให้ไทยทบทวนนโยบายแรงงานข้ามชาติเพื่อติดตามกลยุทธ์การเติบโต 4.0
ตามรายงานของธนาคารโลก ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีแรงงานข้ามชาติมากกว่าร้อยละ 55 แต่ถ้าหากประเทศมีนโยบายที่เหมาะสมก็สามารถนำไปสู่การเติบโตทางเศรษฐกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ที่กล่าวถึงในนโยบายประเทศไทย 4.0อ่านต่อ ...
Kas Chanwanpen