ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คำชี้แจงของเครือข่ายประชาชนไทย 8 จังหวัดลุ่มน้ำโขง ต่อคำแถลงของโฆษกสถานเอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทย ว่าด้วยคำวิพากษ์วิจารณ์ที่เกี่ยวกับจีนในปัญหาน้ำแม่น้ำโขง
ตามที่สถานเอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทย มีคำแถลงเกี่ยวกับปัญหาน้ำแม่น้ำโขง ว่าเป็นไปด้วยคำวิพากษ์วิจารณ์จีนอันเป็นเท็จ ไม่มีหลักฐานและไม่ตรงกับข้อเท็จจริง มองข้ามความพยายามของแต่ละฝ่ายที่เกี่ยวข้องซึ่งรวมถึงจีนและไทยในการผลักดันความร่วมมือในด้านทรัพยากรน้ำแม่น้ำโขง ทำลายบรรยากาศความร่วมมืออันดีในอนุภูมิภาคฯ นั้น อ่านต่อ ...
เครือข่ายประชาชนของไทยพูดคุยกับจีนในประเด็นแม่น้ำโขง
ชาวบ้าน และนักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมใช้เวลาช่วงสุดสัปดาห์อภิปรายอย่างร้อนแรงต่อสถานทูตจีนเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์และการจัดการแม่น้ำโขงในกรุงปักกิ่งในขณะที่สถานทูตจีน กล่าวหาว่าสื่อของไทยเผยแพร่ข้อมูลเท็จเกี่ยวกับโครงการพัฒนาของจีนในแม่น้ำที่ยาวที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สายนี้ โดยเครือข่ายประชาชนแม่น้ำโขงของไทยได้ต่อสู้เพื่อนำแม่น้ำโขงกลับคืนมา โดยกล่าวว่าปักกิ่งกำลังใช้ประโยชน์จากแม่น้ำโขง เพื่อประโยชน์ของตนเองเท่านั้นอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
รัฐบาลต่างเพิกเฉยในขณะที่จีนย่ำยีแม่น้ำโขง
เมื่อไม่นานมานี้ ได้เกิดการรวมตัวกันของกลุ่มประชาสังคมที่ได้เฝ้าติดตามการพัฒนาตามแนวแม่น้ำโขงได้ออกแถลงการณ์ถึงความผันผวนของการไหลของแม่น้ำในช่วงสามทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์นับเป็นเรื่องใหญ่สำหรับคนที่มีอาชีพที่ต้องพึ่งพาแม่น้ำนานาชาติสายนี้ ที่ไหลจากประเทศจีนผ่านไปยังพม่า ไทยลาว กัมพูชา และเวียดนาม ความผันผวนดังกล่าวทำให้ระดับน้ำเปลี่ยนแปลงไม่ตรงตามฤดูกาลเป็นเหตุให้เกิดน้ำล้นในฤดูแล้ง และการขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูฝนอ่านต่อ ...
เนาวรัตน์ สุขสำราญ
วิธีแก้ปัญหาวิกฤตการจัดการขยะในท้องถิ่นของประเทศไทย
หลังจากอ่านบทความ Isaan Record สามฉบับที่ตีพิมพ์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2561 ที่ผ่านมา ในหัวข้อมลพิษทางอากาศ และปัญหาน้ำเสียที่เกิดจากการฝังกลบและการเผาขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี ทำให้ฉันอดคิดไม่ได้ว่ารัฐบาล และหน่วยงานท้องถิ่นนั้นล้มเหลวในการจัดการของเสียปัจจุบันหน่วยงานภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำลังประสบปัญหาการจัดการขยะ โดยปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นมีความเชื่อมโยงกับการเติบโตของประชากรและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอ่านต่อ ...
พบบ่อขยะอิเล็กทรอนิกส์ขนาดยักษ์ในพื้นที่ป่าอนุรักษ์จังหวัดสระแก้ว
ชาวบ้านในตำบลตาหลังใน อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว พบแหล่งทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ขนาดใหญ่ ซึ่งครอบคลุมพื้นที่ป่าอนุรักษ์กว่า 3.2 เฮคเตอร์ (20 ไร่) โดยชาวบ้านเรียกร้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการตรวจสอบพื้นที่ดังกล่าว โดยกังวลว่าอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมอ่านต่อ ...
ศุลกากรออกมาตรการเร่งด่วนในการจัดการกับลักลอบขนขยะเข้าประเทศ
อธิบดีกรมศุลกากร กล่าวว่า ได้ดำเนินมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันการลักลอบขนขยะอิเล็กทรอนิกส์ และพลาสติกเข้ามาในประเทศ หลังจากที่มีการสกัดกั้นการขนส่งขยะมูลค่า 17.5 ล้านบาท นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ อธิบดีกรมศุลกากรกล่าวว่า คดีลักลอบขนขยะที่ไม่พึงประสงค์ที่ ถูกเจ้าหน้าที่ของกรมสกัดกั้นในช่วงปีงบประมาณ 2561 ถึง 2562 มีมากถึง 103 คดีอ่านต่อ ...
ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศอย่างไร?
ประเทศต่างๆทั่วโลกกำลังประสบกับความต้องการในการปกป้องประชากร และความสามารถในการผลิตของตน เมื่อต้องเผชิญกับความท้าทายใหม่ด้านสภาพภูมิอากาศ โดยประเทศไทยได้เริ่มใช้ยุทธศาสตร์ที่มีศักยภาพในการลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นตัวการสำคัญของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดูต่อ ...
ไทยลดการนำเข้าพลาสติก และขยะอิเล็กทรอนิกส์
กรมศุลกากร รายงานว่า การนำเข้าขยะพลาสติกและอิเล็กทรอนิกส์ลดลงอย่างมากหลังจากที่รัฐบาลระงับการนำเข้าขยะจากต่างประเทศนายกฤษฎา จีนะวิจารณะ อธิบดีกรมศุลกากร กล่าวว่า การนำเข้าขยะพลาสติกมายังประเทศไทยลดลงเหลือ 174,000 ตัน ในช่วง 5 เดือนจนถึงพฤษภาคม จากจำนวน 571,000 ตันตลอดทั้งปี 2561 ในขณะที่ปริมาณนำเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ลดลงเหลือ 12,200 ตันในช่วงเดือนมกราคม – พฤษภาคม จาก 51,500 ตันในปีที่แล้ว อ่านต่อ ...
วิชิต จันทนุสรณ์ศิริ
ขยะพลาสติกล้นทะเล
ประเทศไทยตระหนักถึงภัยคุกคามจากขยะพลาสติกที่มีต่อระบบนิเวศ และสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะอย่างยิ่งขยะในมหาสมุทร ตามที่เห็นในข่าว สิ่งมีชีวิตในทะเลต่างกินขยะพลาสติกเข้าไป และต้องทนทุกข์ทรมานอย่างมากประเทศอื่น ๆ ก็ประสบปัญหาขยะพลาสติกล้นประเทศ โดยองค์กรไม่แสวงผลกำไร ‘Ocean Conservancy’ รายงานว่าขยะพลาสติกจำนวนกว่า 150 ล้านตัน กำลังไหลเวียนในมหาสมุทร ทะเลและแหล่งน้ำอื่น ๆ นับตั้งแต่ปี 2493 เป็นต้นมาอ่านต่อ ...
ยุทธนา ไพรวัลย์ และ ลมลเพ็ชร อภิสิทธิ์นิรันดร์
ควบคุมวิกฤตการณ์ขยะ
การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียนครั้งที่ 34 ได้สิ้นสุด เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ด้วยการให้สัตยาบันโครงการริเริ่มสีเขียวสองโครงการ ซึ่งนิมิตหมายอันดีต่ออนาคตของโลกปฏิญญากรุงเทพฯว่าด้วยการต่อสู้กับขยะทะเล และกรอบปฏิบัติของอาเซียนเกี่ยวกับขยะทะเลโดยมุ่งหวังที่จะเสริมสร้างความร่วมมือในระดับภูมิภาค เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อมทางทะเล อย่างไรก็ตามผู้สนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมกำลังเรียกร้องให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกคน ห้ามนำเข้าขยะจากต่างประเทศ เพื่อลดมลภาวะทางทะเลอ่านต่อ ...
วัสยศ งามขำ