ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สถานประกอบการกว่า 50% เพิกเฉยต่อคำสั่งห้ามปล่อยน้ำเสียลงสู่คลองภาคกลางของประเทศไทย

กรมควบคุมมลพิษ กล่าวว่า มีจำนวนสถานประกอบการไม่น้อยกว่า 50% ที่เพิกเฉยต่อคำสั่งเกี่ยวกับการปล่อยน้ำเสียลงสู่คลองแสนแสบ  ซึ่งเป็นคลองที่เชื่อมโยงแม่น้ำเจ้าพระยาในกรุงเทพฯ เข้ากับจังหวัดภาคกลางของประเทศไทยได้แก่ ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทราThe Nation รายงานว่าในระหว่างปี พ.ศ.2559 ถึงปี พ.ศ.2562 มีสถานประกอบการกว่า 289 แห่งจากทั้งหมด 600 แห่ง ขัดขืนระเบียบของกรมควบคุมมลพิษเรื่องการระบายน้ำเสียลงสู่คลอง โดยนายประลอง ดำรงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษได้ยืนยันว่าเรื่องดังกล่าวได้เกิดขึ้นจริงอ่านต่อ ...

May Taylor

คณะกรรมาธิการแม่น้ำโขงอนุมัติยุทธศาสตร์การจัดการภัยแล้ง และนโยบายอื่น ๆ เพิ่มขีดความสามารถของประเทศในลุ่มแม่น้ำโขง เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับภัยพิบัติในอนาคต

ผู้แทนรัฐมนตรีจากคณะกรรมาธิการแม่น้ำโขง (MRC) ได้ร่วมตัวกันในการประชุมประจำปี ณ กรุงพนมเปญในการอนุมัติยุทธศาสตร์การจัดการภัยแล้ง ปี พ.ศ.2563-2568 ทำให้กัมพูชา สปป. ลาว ไทย และเวียดนามเตรียมความพร้อม และจัดการภัยแล้งโดยรวมโดยยุทธศาสตร์ที่ได้รับการอนุมัตินั้นเกิดขึ้น เนื่องจากภูมิภาคกำลังประสบกับปัญหาภัยแล้งที่เลวร้ายที่สุด ซึ่งทำให้ระดับน้ำในแม่น้ำโขงลดลงถึงจุดต่ำสุด ในช่วงชีวิตหรือในรอบ 60 ปีที่ผ่านมาอ่านต่อ ...

กรมอุทยานแห่งชาติหวังเปลี่ยนขยะเป็นเงิน

กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืชได้ค้นพบแนวทางที่สามารถการปกป้องสิ่งแวดล้อมและสร้างรายได้ในเวลาเดียวกัน โดยการขายขยะที่ทิ้งไว้ โดยนักท่องเที่ยวนายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า นักท่องเที่ยวจะได้รับถุงพลาสติกสีดำเพื่อเก็บขยะ และจะต้องส่งคืนให้กับเจ้าหน้าที่หลังออกจากอุทยานอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

พบขยะ 'พลาสติก' ในกระเพาะกวางป่ากว่า 7 กก.

เมื่อวันอังคาร (26 พ.ย.)ที่ผ่านมา เจ้าหน้าที่ได้พบกวางป่านอนตาย โดยมีถุงพลาสติกและขยะอื่น ๆ หนักกว่า 7 กิโลกรัม อยู่ภายในกระเพาะอาหาร สร้างความตระหนักถึงปัญหาการทิ้งขยะลงในแหล่งน้ำและป่าไม้ของประเทศไทยซึ่งประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้บริโภคพลาสติกรายใหญ่ที่สุดของโลกโดยคนไทยใช้ถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวมากถึง 3,000 ถุงต่อปีไม่ว่าจะเป็นการห่ออาหาร ใส่กาแฟกลับบ้าน หรือใช้ใส่ของจากร้านขายของชำอ่านต่อ ...

ไทยดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับประเทศทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลมากที่สุดในโลก

ประเทศไทยติด 20 อันดับประเทศที่ก่อมลพิษพลาสติกทางทะเลที่ใหญ่ที่สุด โดยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 10 ดีขึ้น 4 อันดับจากที่ 6 ในปีก่อนหน้า ซึ่งจัดอันดับจากมวลขยะพลาสติกที่มีการจัดการไม่ถูกต้องปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า การปรับปรุงส่วนใหญ่เกิดจากการริเริ่มของรัฐบาล และความพยายามของภาครัฐและภาคเอกชนในการลดถุงพลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวและกล่องโฟมบรรจุอาหารอ่านต่อ ...

Greeley Pulitzer

ความเพิกเฉยทางการเมืองเป็นเชื้อเพลิงเพิ่มวิกฤติมลพิษทางอากาศ

นักวิชาการชั้นนำกล่าวว่า มันคงไม่มีหนทางใด นอกเหนือจากที่รัฐบาลนี้มีความพร้อมที่จะหยุดวิกฤติมลพิษทางอากาศไม่ให้ลุกลามจนเกินการควบคุม แม้จะมีการประกาศเป้าหมายของ นายวราวุธ ศิลปอาชา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ต้องการแก้ปัญหา PM2.5 ภายในปี พ.ศ.2565 แต่วัฒนธรรมการกำหนดนโยบายดูเหมือนจะมืดบอดกับสิ่งที่ธรรมชาติกำลังบอกเรา แต่ผู้ร่างกฎหมายกลับมองข้ามการคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน และมองผลประโยชน์เหนือการแก้ปัญหาอ่านต่อ ...

Supita Roengjit

กระทรวงสาธารณสุขเตรียมรับมือกับ PM2.5

เจ้าหน้าที่ระดับสูงของกระทรวงสาธารณสุขและผู้บริหารกระทรวงฯได้จัดประชุมทางวิดีโอกับแพทย์ในศูนย์สาธารณสุขประจำจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อจัดทำและติดตามผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่นละออง PM2.5 ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นในเดือนธันวาคมของทุกปีการประชุมทางวิดีโอได้จัดขึ้นในวันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ณ ศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดนนทบุรีอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

ภัยแล้งยังคงส่งผลกระทบต่อประเทศในลุ่มแม่น้ำโขง โดยมีความเสี่ยงต่อการผลิตพืชผล และ การขาดแคลนน้ำ

คาดการณ์ว่าภัยแล้งในระดับที่รุนแรงจนถึงขั้นสุดขั้วจะส่งผลกระทบต่อประเทศในลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่างตั้งแต่วันนี้ถึงมกราคม พ.ศ.2563  ประเทศไทยและกัมพูชาจะได้รับผลกระทบหนักที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับ สปป.ลาวและเวียดนามการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นของคณะกรรมาธิการลุ่มน้ำโขง (MRC) แสดงให้เห็นว่าภัยแล้งเกิดจากปริมาณน้ำฝนที่ไม่เพียงพอในช่วงฤดูฝนที่มาช้า และมรสุมที่หมดเร็วกว่าปกติ พร้อมกับสภาวะ El Nino ที่ทำให้เกิดอุณหภูมิ และการระเหยที่สูงผิดปกติอ่านต่อ ...

ปลดล็อกรายงานตรวจสอบแทนที่ EIA เขื่อนกันคลื่น

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมจะใช้ “รายการตรวจสอบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น” เพื่อตรวจสอบข้อเสนอเกี่ยวกับการก่อสร้างกำแพงกันคลื่น เพื่อป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งรายการตรวจสอบจะได้รับการออกแบบในลักษณะที่แสดงประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่สำคัญอย่างชัดเจน ซึ่งผู้ยื่นโครงการต้องระบุในการวางแผนโครงการ โดยทางกระทรวงฯระบุว่ารายการตรวจสอบนี้จะเข้ามาแทนที่ข้อกำหนดการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) สำหรับโครงการที่เกี่ยวข้องกับกำแพงกันคลื่นอ่านต่อ ...

อภิญญา วิภาตะโยธิน

กรุงเทพฯติดที่ 12 ในอันดับเมืองที่มีคุณภาพอากาศเลวร้ายที่สุดในโลก

แอปพลิเคชั่น Air Visual ได้รายงานเมื่อวันอังคาร (19 พฤศจิกายน) ว่าระดับมลพิษทางอากาศของกรุงเทพฯ ตามมาตรฐาน AQI ของสหรัฐอเมริกาอยู่ที่ 136 โดยมีระดับ PM 2.5 อยู่ที่ 57.8 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (µg / m3) ส่งผลให้ติดอันดับที่ 12 ของอันดับเมืองที่มีคุณภาพอากาศเลวร้ายที่สุดในโลกดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) เป็นมาตรฐานที่บ่งบอกถึงคุณภาพอากาศ และระดับมลพิษ โดยระดับ 0-50 หมายถึงคุณภาพอากาศที่ดี 51-100 หมายถึงคุณภาพปานกลาง 101-105 จะเริ่มส่งผลกระทบต่อกลุ่มที่มีความละเอียดอ่อน 151-200 เป็นอันตรายต่อสุขภาพเล็กน้อย 201-300 เป็นอันตรายอย่างมาก และ 301-500 หมายถึงระดับที่อันตรายมากอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

shBZk
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!