ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สหรัฐหนุนกฎหมายอากาศสะอาด แก้ไฟป่า-หมอกควันภาคเหนือไทย

สหรัฐจัดเสวนาหนุนกฎหมายอากาศสะอาด แก้ไฟป่าภาคเหนือ ดันประเทศลุ่มน้ำโขงแก้ฝุ่นควันข้ามพรมแดน ระหว่างไทย เวียดนาม ลาว เมียนมา และกัมพูชา ร่วมกันกำหนดยุทธศาสตร์ในการแก้ปัญหา วันที่ 7 ธันวาคม 2565 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สถานกงสุลใหญ่สหรัฐอเมริกา เชียงใหม่ ร่วมกับโครงการ Mekong for the Future ขององค์การเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกา (USAID) จัดเสวนาหัวข้อ “Sharing Thailand-U.S. Experiences : A Path to Cleaner Air and Healthier Communities” ณ โรงแรมเซ็นทารา ริเวอร์ไซด์ เชียงใหม่อ่านเพิ่มเติม ...

ชาวบ้านแม่ลาน้อย ลุกขึ้นต้านสัมปทานเหมืองแร่ฟลูออไรด์ ชี้เอื้อนายทุน แต่ทำลายสิ่งแวดล้อม-วิถีชุมชน

ชาวบ้าน ผู้นำท้องถิ่น อำเภอแม่ลาน้อย ยังคงผนึกกำลังการเคลื่อนไหวต่อต้านไม่เอาเหมืองแร่ฟลูออไรด์อย่างต่อเนื่อง เนื่องจากมีความกังวลถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต และแม่น้ำแม่ลา ซึ่งเป็นแม่น้ำสายหลักที่หล่อเลี้ยงคนในพื้นที่หลายชุมชนตลอดลำห้วย โดยได้เดินทางไปยื่นหนังสือคัดค้านต่อกรรมาธิการที่ดินทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาผู้แทนราษฎร เพื่อขอให้ระงับยกเลิกโครงการนี้จวน สุจา ตัวแทนชาวบ้าน และเป็นสมาชิกอบต.ตำบลแม่ลาหลวง อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน เปิดเผยว่า แรกเริ่มเดิมที มีการสัมปทานเหมืองแร่ตอนแรก เมื่อ 30 ปีมาแล้ว ซึ่งสมัยนั้น ไม่มีประชาพิจารณ์ ไม่มีประชาคม ก็เลยมีการทำเหมืองแร่เกิดมาได้ ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2532 รัฐบาลสมัยนั้น มีนโยบายปิดป่า จึงทำให้มีการยกเลิกสัมปทานเหมืองแร่นี้ไปด้วย ก็เลยหยุดไป จนกระทั่งในปี 2562 บริษัท ยูนิเวอร์แซลมายนิ่ง จำกัด ได้มีการยื่นขอสัมปทานเหมืองแร่นี้ขึ้นมาใหม่ จนทำให้ชาวบ้านหลายหมู่บ้านในเขตพื้นที่ตำบลสันติคีรี อ.แม่ลาน้อย ซึ่งอยู่ต้นน้ำ รวมไปถึงชาวบ้านในเขตพื้นที่ ต.แม่ลาหลวง ซึ่งเป็นพื้นที่ซึ่งอยู่กลางน้ำ ...

พื้นที่เดินเรือ อ.ปะทิว จ.ชุมพร ได้รับการประกาศให้เป็นเขตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ครม.เห็นชอบคำสั่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในวันนี้ (วันอังคาร) ให้ประกาศพื้นที่เฉพาะในตำบลปากคลอง ชุมโข บางซ่อน และสะพลี อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ให้เป็นเขตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ห้ามการก่อสร้าง ตกปลา และขุดลอกทรายโดยเด็ดขาดอ่านเพิ่มเติม ...

การคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพน้ำจืดอันอุดมสมบูรณ์ของประเทศไทย

รัฐบาลไทยได้ใช้ความพยายามในการจัดการกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโดยการสร้างโครงการกักเก็บน้ำจำนวนมาก แต่สิ่งนี้อาจคุกคามความหลากหลายทางชีวภาพของน้ำจืดของประเทศ เว้นแต่จะมีการพิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ยั่งยืนใหม่ในป่าอันห่างไกลในจังหวัดราชบุรีทางตะวันตกของประเทศไทย ทีมนักวิทยาศาสตร์ของไทยได้ค้นพบสายพันธุ์ที่คาดว่าน่าจะหายไปในปี พ.ศ. 2478 ได้แก่ ปลาน้ำจืดที่รู้จักกันในชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Schistura myrmekiaอ่านต่อ ...

ปรัชญ์ รุจิวนารมย์

ความร่วมมือเพื่อสภาพภูมิอากาศ

ผู้เชี่ยวชาญกล่าวว่า ความมุ่งมั่นในความร่วมมือระหว่างประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ยังคงเป็นกุญแจสำคัญในการแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่องจากผลกระทบยังคงส่งผลกระทบอย่างต่อเนื่องต่อเศรษฐกิจและผู้คนในภูมิภาคผลลัพธ์ที่เป็นประโยชน์ร่วมกันของข้อตกลงดังกล่าวชัดเจน หนึ่งในนั้นคือความเสี่ยงเล็กน้อยที่คาดว่าหมอกควันข้ามพรมแดนอาจส่งผลกระทบต่ออินโดนีเซีย มาเลเซีย และสิงคโปร์ในปีนี้ ตามการประเมินของสถาบันวิเทศสัมพันธ์แห่งสิงคโปร์ (SIIA)อ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ปตท.สผ. เตรียมเปิดตัวโครงการดักจับคาร์บอนแห่งแรกของประเทศภายในปี พ.ศ.2569

องค์กรหนึ่งของกลุ่มน้ำมันและก๊าซของไทย บริษัท ปตท. ตั้งเป้าที่จะนำโครงการดักจับและการจัดเก็บคาร์บอนแห่งแรกของประเทศ โดยจะเริ่มดำเนินการภายในปี พ.ศ.2569 ซึ่งเป็นก้าวสำคัญสู่เป้าหมายของประเทศไทยในการบรรลุความเป็นกลางของคาร์บอนภายในปี พ.ศ.2593บริษัท ปตท. สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ตั้งใจที่จะกักเก็บก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากแหล่งอาทิตย์บริเวณนอกชายฝั่งในอ่าวไทยใต้พื้นทะเล โดยการศึกษาความเป็นไปได้ที่เริ่มขึ้นในปี พศ.2564 ได้ข้อสรุปเมื่อเร็วๆ นี้ และโครงการนี้อยู่ในขั้นตอนการออกแบบเบื้องต้น บริษัทกล่าวอ่านต่อ ...

ประเทศไทยคุณภาพสิ่งแวดล้อมไทยย่ำแย่

นักวิชาการอ้างผลสำรวจของมหาวิทยาลัยเยล ระบุว่า อันเนื่องจากการขาดมาตรการและความสนใจของรัฐบาลทำให้ อันดับด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยลดลงจากอันดับที่ 78 เป็น 108 ในทั้งหมด 180 ประเทศ รศ. ดร.วิษณุ อรรถวานิช อาจารย์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวเมื่อวันอาทิตย์ว่าประเทศไทยได้อันดับด้านคุณภาพอากาศลดลงจากอันดับที่ 85 เป็น 93 และในทำนองเดียวกัน ประเทศได้อันดับลดลงเป็นอันดับ 100 และ 129 จากอันดับที่ 84 และ 101 ในด้านการจัดการขยะและด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมตามลำดับอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าว เดอะ เนชั่น

รัฐบาลโชว์ความสำเร็จในการบริหารจัดการน้ำ

เมื่อฤดูแล้งสิ้นสุดลงอย่างเป็นทางการ โดยไม่มีประกาศภัยแล้งใดๆ ตลอดระยะเวลาดังกล่าวถือเป็นหลักฐานในการดำเนินการรแก้ไขปัญหาอุทกภัยและปัญหาภัยแล้ง นอกจากนี้ เป็นที่ยอมรับในความพยายามของการจัดหาน้ำที่เพียงพอสำหรับการบริโภคในครัวเรือนดูต่อ ...

น้ำบาดาล: ทำสิ่งที่มองไม่เห็นมองเห็นได้

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศทำให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้น ทำให้แหล่งน้ำที่มองเห็นได้ชัดเจนที่สุดตกอยู่ในความเสี่ยง จากสเปนสู่บางส่วนของทวีปแอฟริกา ความแห้งแล้งกำลังเกิดขึ้นในระดับที่ไม่เคยมีมาก่อน เมื่อปีที่แล้วมาดากัสการ์ต้องเผชิญกับวิกฤตด้านอาหารที่ทำให้ผู้คน 1.3 ล้านคนต้องเผชิญความหิวโหยอย่างรุนแรงหลังภัยแล้งครั้งเลวร้ายที่สุดในรอบสี่ทศวรรษประเทศไทยประสบปัญหาทั้งอุทกภัยรุนแรงในฤดูฝนและภัยแล้งที่รุนแรงในฤดูแล้ง ซึ่งเป็นตัวแทน 2 แหล่งสำคัญของวิกฤตการณ์น้ำของประเทศ การรุกล้ำของน้ำเค็มสู่แหล่งน้ำผิวดินอันเนื่องมาจากระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้นก็กลายเป็นปัญหามากขึ้นเช่นกันอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

ทำความสะอาดเศรษฐกิจ

การนำเศรษฐกิจกลับมาสู่การเติบโตตามปกติเป็นสิ่งจำเป็น แต่อาจไม่เพียงพอหากรัฐบาลไม่ควบคุมการเติบโตในลักษณะที่สะอาดกว่าการผลิตไฟฟ้าและอุตสาหกรรมที่มีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยจำเป็นต้องได้รับการปรับปรุงอย่างจริงจังเพื่อตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำหรับการดำเนินงานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยมุ่งเป้าไปที่การจัดการกับข้อกังวลด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอ่านต่อ ...

ผู้สื่อข่าวบางกอกโพสต์

Contact us

Contact us

Do you have questions on the content published by Open Development Thailand? We will gladly help you.

Have you found a technical problem or issue on the Open Development Thailand website?

Tell us how we're doing.

Do you have resources that could help expand the Open Development Thailand website? We will review any map data, laws, articles, and documents that we do not yet have and see if we can implement them into our site. Please make sure the resources are in the public domain or fall under a Creative Commons license.

File was deleted
ERROR!

Disclaimer: Open Development Thailand will thoroughly review all submitted resources for integrity and relevancy before the resources are hosted. All hosted resources will be in the public domain, or licensed under Creative Commons. We thank you for your support.

WHmNH
* The idea box couldn't be blank! Something's gone wrong, Please Resubmit the form! Please add the code correctly​ first.

Thank you for taking the time to get in contact!