ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
McKinsey เผยภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เผชิญกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงกว่าส่วนอื่น ๆ ของโลก
ตามรายงานของ McKinsey บริษัทที่ปรึกษาด้านธุรกิจ และเศรษฐกิจของระบุว่าเอเชียตะวันออกเฉียงใต้อาจเผชิญกับผลกระทบที่รุนแรงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากกว่าส่วนอื่น ๆ ของโลกงานวิจัยระบุขอบเขตของผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่อาจมีต่อประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และประเทศในเอเชียใต้รวมทั้งบังกลาเทศ อินเดีย และปากีสถานอ่านต่อ ...
การฟื้นตัวหลังโควิด-19
โลกกำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤติอย่างที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน การแพร่ระบาดโควิด-19 ได้ระบาดไปทั่วโลก ทำให้เกิดโศกนาฏกรรมครั้งสำคัญของมนุษยชาติ และการสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล ซึ่งในตอนนี้กำลังพุ่งเป้าไปที่การต่อสู้กับการระบาดใหญ่และผลที่ตามมา ข่าวดีก็คือประเทศไทยดูเหมือนว่าจะมีการจัดการ เพื่อให้กำหนดให้ไวรัสอยู่ภายในขอบเขตที่เหมาะสม นอกจากนี้ในยุโรปสิ่งที่เลวร้ายที่สุดดูเหมือนจะจบลงแล้ว และความสนใจเริ่มเปลี่ยนไปสู่การสร้างเศรษฐกิจใหม่ การตัดสินใจของรัฐบาลไทยในการเปิดใช้แผนฟื้นฟูระยะที่ 4 ถือเป็นความสำเร็จครั้งสำคัญในความพยายามครั้งนี้อ่านต่อ ...
ลานีน่าอาจบรรเทาความรุนแรงจากภัยแล้ง
ประเทศไทยอาจไม่ประสบภัยแล้งอย่างรุนแรงในปีนี้ ตามที่คาดการณ์ไว้เนื่องจากอิทธิพลของปรากฏการณ์ลานีน่า แต่ยังคงต้องใช้น้ำอย่างระมัดระวัง โดยเฉพาะในหมู่เกษตรกรที่ได้รับคำสั่งให้รอเวลาที่เหมาะสมในการเริ่มทำการเกษตรนายทวีศักดิ์ ธนเดโชพล รองอธิบดีกรมชลประทาน กล่าวว่า “ลานีน่า ที่ไม่รุนแรงจะนำฝนจำนวนมากไปยังบางพื้นที่” โดยจังหวัดในภาคเหนือและภาคตะวันออกของประเทศไทย ซึ่งจะมีฝนตกหนักระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคมปีนี้อ่านต่อ ...
อภิญญา วิภาตะโยธิน
การต่อสู้เพื่อกอบกู้กรุงเทพไม่ให้จมลงใต้น้ำ
เมื่อ ดร.กชกร วรอาคม นักภูมิสถาปนิก และเจ้าของสตูดิโอออกแบบภูมิทัศน์ ได้เนรมิตสวนใจกลางกรุงเทพฯ ในปี พ.ศ.2560 ซึ่งไม่ใช่สวนธรรมดาทั่วไปโดยสวนดังกล่าวมีแอ่งน้ำที่สามารถเก็บซับน้ำส่วนเกินจากเมืองได้มากถึง 4.5 ล้านลิตร โดยเป็นการเติมน้ำลงในถังเก็บน้ำใต้ดินและลดการเกิดน้ำท่วมจากช่วงมรสุมอ่านต่อ ...
อาวุธลับของประเทศไทยในการต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นักวิทยาศาสตร์เตือนว่า เมืองอาจไม่สามารถอยู่รอดได้ในศตวรรษนี้ โดยมีสาเหตุมาจากระดับน้ำทะเลที่เพิ่มขึ้น การพัฒนาที่ไม่ควบคุม การใช้น้ำใต้ดิน และการเติบโตของประชากรในเมืองอย่างรวดเร็วทำให้ผู้คนนับล้านต้องเผชิญความเสี่ยงต่อภัยพิบัติทางธรรมชาติ ตามการวิเคราะห์ใหม่โดยดัชนี Nestpick 2050 Climate Change City กล่าวว่า กรุงเทพฯอาจได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อนอ่านต่อ ...
เรียนรู้ที่จะอยู่กับอากาศที่เปลี่ยนแปลง
นวัตกรรมการจัดการน้ำและการรับมือของคนในท้องถิ่น ได้ช่วยเปลี่ยนชุมชนที่มีน้ำท่วมซ้ำซากในเขตอำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานีให้กลายเป็นพื้นที่เก็บกักน้ำอเนกประสงค์อย่างไรก็ตามภัยแล้งที่รุนแรงได้เสนอความท้าทายใหม่เมื่อ 9 ปีที่แล้ว ภาคกลางของประเทศไทยได้รับผลกระทบจากน้ำท่วมที่เลวร้ายที่สุดในรอบหลายทศวรรษพื้นที่สวนส้มถูกน้ำท่วมเป็นเวลาหลายเดือน ตอนนี้ความทรงจำของน้ำท่วมเหล่านั้น คือสิ่งที่เหลืออยู่ของปัญหาอ่านต่อ ...
ธนา บุญเลิศ
เมล็ดพันธ์ุแห่งความหวัง
นี่เป็นสถานการณ์ที่คุ้นเคย เหล่าเด็กๆต่างถูกตักเตือนโดยผู้ปกครองหากกินข้าวในจานไม่หมด พร้อมเตือนบรรดาผู้คนนับล้านทั่วโลกที่อดอยาก บางทีคุณอาจเคยเป็นพ่อแม่คนนั้น หรือเคยเป็นลูกคนนั้นจากสถิติได้บันทึกไว้ว่าผู้คนจำนวน 821 ล้าน ที่เข้านอนด้วยความหิวในทุกวัน สำหรับสถิตินี้ไม่ใช่ความผิดของลูกหลานของเรา ที่หนึ่งในสามของอาหารที่ผลิตทั่วโลกไม่เคยตกไปอยู่กับผู้คนเหล่านี้อ่านต่อ ...
Sunny Verghese
งานวิจัยฉบับใหม่คาดการณ์กรุงเทพจะจมใต้น้ำภายในปี พ.ศ.2593
จากรายงานวิจัยฉบับใหม่พบว่า การเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเล อาจส่งผลกระทบต่อผู้คนเพิ่มขึ้นสามเท่าภายในปี พ.ศ.2593 โดยเมืองใหญ่บางเมืองอย่างเช่น กรุงเทพฯ อาจถูกลบหายจากแผนที่ซึ่งผู้เขียนบทความได้พัฒนาวิธีการคำนวณที่ระดับความสูงของพื้นดินโดยใช้ดาวเทียมที่แม่นยำขึ้น และพัฒนาวิธีมาตรฐานในการประมาณผลกระทบของการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลในพื้นที่ขนาดใหญ่ พร้อมพบว่าตัวเลขก่อนหน้านี้อยู่อาจน้อยเกินไปอ่านต่อ ...
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ได้ทำลายแนวปะการังไปแล้วกว่าครึ่งโลก
มหาสมุทรเป็นกันชนที่ใหญ่ที่สุดสำหรับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เป็นอันตรายต่อมนุษยชาติ ประมาณ 1 ใน 4 ของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ทั้งหมดถูกปล่อยออกสู่ชั้นบรรยากาศ นับตั้งแต่ปี พ.ศ.2523 ตั้งแต่การขับรถยนต์ การดำเนินการของโรงงาน และการผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเชื้อเพลิงฟอสซิล เมื่อโลกอุ่นขึ้นจากการปล่อยมลพิษ มหาสมุทรจึงอุ่นขึ้นเป็นครั้งแรกและเร็วที่สุด โดยดูดซับ 90% ของความร้อนส่วนเกินนั้นเอาไว้ จากรายงานที่เผยแพร่เมื่อเดือนที่แล้วโดยคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ชั้นแนวหน้าได้ออกมาเตือนว่า ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับมหาสมุทรกำลังเกิดขึ้นในอัตราเร่งและอาจอยู่ในจุดที่ไม่สามารถย้อนกลับมาได้อีกอ่านต่อ ...
'โครงการแถบและเส้นทาง' ของจีน เป็นความเสี่ยงต่อเป้าหมายสภาพภูมิอากาศตามข้อตกลงปารีส
การพัฒนาแหล่งคาร์บอนในประเทศเป็นส่วนหนึ่งของโครงการริ่เริมแถบและเส้นทางของจีน อาจทำให้ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายสภาพภูมิอากาศตามข้อตกลงปารีสได้ ตามการวิเคราะห์ใหม่ในโครงการโครงสร้างพื้นฐานระดับโลกขนาดใหญ่ที่เผยแพร่ในวันจันทร์ที่ผ่านมา พบว่า เครือข่ายขนาดใหญ่ของท่าเรือ รถไฟ ถนน และนิคมอุตสาหกรรมในเอเชีย แอฟริกา ตะวันออกกลาง และยุโรปจะเห็นการลงทุนมูลค่าล้านล้านในโครงสร้างพื้นฐานใหม่ใน 126 ประเทศอ่านต่อ ...